日本語講座推薦図書100冊ブログ開設について

 「文学部の学生なのだから、たくさん本を読んで欲しい」「どのようにすれば、学生が本を読んでくれるか」「読書の楽しさを知って欲しい」「日本語力の向上のためにも読書をたくさんして欲しい」こんな思いから検討を重ねた結果、読書の習慣をつけるためなのだから「分野、また日本語、タイ語、英語などの言語にかかわらず、大学生に卒業までに読んでほしい本を何冊か選び、図書館に特別な棚を作り、そのコーナーに並べよう」ということになりました。しかし、いざ選出の段階になり、大学の図書館を調べてみると、文学部の図書館にある本には限りがあり、推薦したい本があまりみつかりませんでした ・・・・・続きを読む
                                 <文責:池谷清美>

โครงการหนังสือแนะนำร้อยเล่มที่นิสิตวิชาเอกภาษาญี่ปุ่นควรอ่าน  <文責:กนกวรรณ>

6/29/2008

ことばと文化


 1973年刊と30年以上も前の本ということで、古いと思うかもしれませんが、文化の違いが如何にことばにあらわれているかを日本語と外国語との比較によりさまざまな例を挙げながら明らかにしていく面白さは今も変わりません。日本の高校生、大学受験生のほとんどがこの本の一部を国語の教材として読んでいると言えるほど、広く読まれているものです。同じ著者でこの後にも同じ岩波新書で何冊か出ているので、これを読み終わってこのトピックに興味を持ったら、ぜひこの他の本も読んでください。

<推薦学年:4年/文責:Kiyomi Iketani>

1 件のコメント:

galip さんのコメント...

หลังจากอ่านหนังสือเล่มนี้ ทำให้ได้รู้ว่าวัฒนธรรมนั้นไม่ได้จำกัดอยู่แค่ วรรณคดี หนังสือ การใช้ชีวิต เท่านั้น แตได้หมายความรวมไปถึง ตัวภาษาที่สืบทอดมารุ่นต่อรุ่น ตัวภาษานั้นไม่ได้มีความหมายตามที่ปรากฏให้เห็นตามที่เขียนเท่านั้น แต่ยังสามารถใช้สื่อความหมายความรู้สึกนึกคิดของมนุษย์อีกด้วย สิ่งเหล่านี้เองที่ทำให้ภาษามีความละเอียดละอ่อน และเข้าใจยากในบางครั้ง หากวัฒนธรรมต่างกัน การใช้ภาษาก็ต่างกันออกไปด้วย ดังที่ปรากฎในเล่ม เช่น การใช้คำสรรพนาม หรือคำเรียกญาติของภาษาญี่ปุ่นกับภาษาต่างประเทศนั้น ก็จะเห็นได้ว่าแตกต่างกันแต่ทั้งนี้การใช้ของคำแต่ละคำก็ขึ้นอยู่กับความเหมาะสม และ สถานการณ์ในการใช้เพื่อแสดงความหมายที่ต้องการจะสื่อ หนังสือเล่มนเพิ่ม ีความสนใจทางด้านภาษาศาสตร์มากขึ้นและเข้าใจในความแตกต่างในแต่ละวัฒนธรรม

ทานพร ตระการเถลิงศักดิ์